ยินดีต้อนรับสู่ราชบุรีศึกษา
กลับหน้านี้
หน้าหลักราชบุรีศึกษา
จดหมายเหตุราชบุรี
สถาบันราชบุรีศึกษา
วันศุกร์ที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2554 โปรดแบ่งปันภาพถ่ายศูนย์นักศึกษาพม่าบ้านมณีลอย ใครมีภาพถ่ายบรรยากาศศูนย์นักศึกษาพม่าบ้านมณีลอย ต.วังมะนาว อ.ปากท่อ จ.ราชบุรี ซึ่งเปิดดำเนินการเมื่อปี พ.ศ.2535-2545 บ้างครับ ช่วยแบ่งปันให้หน่อยครับจะใช้ลงภาพประกอบบทความ เพื่อให้เป็นความรู้แก่คนรุ่นหลังต่อไปนะครับ บทความต่างๆ มีดังนี้ ศูนย์นักศึกษาพม่ามณีลอย ตอนที่ 1 กำเนิดศูนย์ ศูนย์นักศึกษาพม่ามณีลอย ตอนที่ 2 ใครบ้างอยู่ในศูนย์ฯ ศูนย์นักศึกษาพม่ามณีลอย ตอนที่ 3 อยู่กันอย่างไรในมณีลอย ศูนย์นักศึกษาพม่ามณีลอย ตอนจบ การบริหาร-การสนับสนุน และอวสานของศูนย์ โปรดส่งอีเมล์ มาที่ sratchaburi@gmail.com อ่านต่อ >> จัดทำโดย Suchart Chantrawong, Ph.D. เวลา 12:02 1 โพสต์คำตอบหรือความคิดเห็น ส่งอีเมลข้อมูลนี้BlogThis!แชร์ไปยัง Xแชร์ไปที่ Facebookแชร์ใน Pinterest ป้ายกำกับ: ศูนย์นักศึกษาพม่าบ้านมณีลอย วันพฤหัสบดีที่ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2553 ทำไมที่ อ.บ้านโป่ง มีคณะลิเกมากที่สุดใน จ.ราชบุรี ผมได้ค้นคว้าเกี่ยวกับ รายนามผู้ประกอบอาชีพแสดงดนตรีไทย ศิลปะ วัฒนธรรม จ.ราชบุรี ปรากฏว่ามีผู้ที่ประกอบอาชีพการแสดงลิเก ของ จ.ราชบุรี ถึง 15 คณะ ดังนี้ ตำบลหนองอ้อ อ.บ้านโป่ง จำนวน 4 คณะ ตำบลเบิกไพร อ.บ้านโป่ง จำนวน 3 คณะ ตำบลปากแรด อ.บ้านโป่ง จำนวน 3 คณะ ตำบลบ้านโป่ง อ.บ้านโป่ง จำนวน 2 คณะ ตำบลท่าผา อ.บ้านโป่ง จำนวน 1 คณะ ตำบลคุ้งพยอม อ.บ้านโป่ง จำนวน 1 คณะ ตำบลสร้อยฟ้า อ.โพธาราม จำนวน 1 คณะ ปรากฏว่าใน อ.บ้านโป่ง มีคณะลิเกมากที่สุด ถึง 14 คณะ เลยสงสัยว่า "เพราะอะไร อ.บ้านโป่งจึงมีคณะลิเกมากที่สุดใน จ.ราชบุรี มีประวัติ ตำนานและความเป็นมาอย่างไร และชาวบ้านมีวิธีการถ่ายทอดอาชีพนี้อย่างไร มาจนถึงทุกวันนี้ และวันนี้เขาสามารถเลี้ยงชีพด้วยการแสดงลิเก ได้หรือไม่" ใครรู้เรื่องนี้ช่วยบอกกล่าวเล่าเรื่องให้ฟังด้วยครับ อ่านต่อ >> จัดทำโดย Suchart Chantrawong, Ph.D. เวลา 16:17 1 โพสต์คำตอบหรือความคิดเห็น ส่งอีเมลข้อมูลนี้BlogThis!แชร์ไปยัง Xแชร์ไปที่ Facebookแชร์ใน Pinterest ป้ายกำกับ: อ.บ้านโป่ง มีคณะลิเกมากที่สุด วันอังคารที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2553 แนวกำแพงเมืองราชบุรีที่จมน้ำอยู่ตรงไหน ในหนังสือสมุดราชบุรี จัดพิมพ์เมื่อปี พ.ศ.2468 โดยมณฑลราชบุรี กล่าวเรื่องเมืองราชบุรีเดิม ไว้ตอนหนึ่งว่า "อนึ่งยังมีผู้กล่าวเล่าต่อกันมาอีกว่า เมืองราชบุรีนี้พระเจ้าศรีธรรมาโศกราช ซึ่งครองมัชฌิมประเทศได้เปนผู้สร้างขึ้นเมื่อพระพุทธศักราช ๒๑๐ ซึ่งเวลานั้นเมืองราชบุรีนับเปนเมืองลูกหลวงเมื่องหนึ่งที่ขึ้นกับมัชฌิมประเทศ และเมืองเดิมนี้ได้ตั้งอยู่ที่ตำบลอู่เรือ ใต้ศาลาว่าการเมืองราชบุรีบัดนี้ ลงไปประมาณ ๘๐ เส้น ซึ่งยังมีแนวกำแพงจมอยู่ในน้ำปรากฏเปนหลักถานอยู่ ณ ที่นี้ นับเปนการสร้างเมืองราชบุรีครั้งที่ ๑" ไม่ทราบว่ามีใครพอจะบอกได้หรือไม่ว่า แนวกำแพงเมืองที่จมอยู่ในน้ำนั้นอยู่ตรงไหน อ่านต่อ >> จัดทำโดย Suchart Chantrawong, Ph.D. เวลา 14:29 1 โพสต์คำตอบหรือความคิดเห็น ส่งอีเมลข้อมูลนี้BlogThis!แชร์ไปยัง Xแชร์ไปที่ Facebookแชร์ใน Pinterest ป้ายกำกับ: แนวกำแพงเมืองราชบุรี บทความที่เก่ากว่า หน้าแรก สมัครสมาชิก: บทความ (Atom) ที่อยู่สำหรับส่งข้อมูลย้อนกลับ อีเมล์ sratchaburi@gmail.com โทรสาร. 0-3231-0397 สารบัญบล็อกราชบุรีศึกษา หน้าหลักราชบุรีศึกษา ภาพถ่ายราชบุรี ภาพเก่าเล่าอดีต ประวัติ ตำนาน และเรื่องเล่า สื่อมวลชนและโทรศัพท์สำคัญ โรงแรมที่พัก ผลิตภัณฑ์ของฝากของที่ระลึก ภูมิประเทศภูมิอากาศ วัด ศาสนา สิ่งศักดิ์สิทธิ์ บุคคลสำคัญ ปราชญ์ชาวบ้าน ภูมิปัญญาท้องถิ่น ศิลปะ วัฒนะธรรม ประเพณี บันทึกเหตุการณ์สำคัญ ความรู้ทั่วไป สถานที่ท่องเที่ยวและกิจกรรม อาหาร ขนม และเครื่องดื่ม ทรัพยากรธรรมชาติและส่งแวดล้อม ชุมชนและสังคม การประกอบอาชีพ การศึกษา เศรษฐกิจและสังคม รวมลิงค์ราชบุรี เกี่ยวกับราชบุรีศึกษา รวมคลิบวีดีโอทั่วไป บรรณานุกรม ข่าวจากผู้สื่อข่าวประจำบล็อก แผนผังบล็อกราชบุรีศึกษา รวมแผนที่ราชบุรี กีฬาและนันทนาการ รวมคลิบวีดีโอข่าวราชบุรี การแพทย์และสาธารณสุข เพลงและบทกวี รวมพลคนเขียนบล็อก จดหมายเหตุราชบุรี งานวิจัยเกี่ยวกับราชบุรี คู่มือการจัดการความรู้โดยใช้บล็อกและเครือข่ายสังคมออนไลน์ การเมือง การปกครอง คำถามที่รอคำตอบ หนังสือและเอกสารสำคัญ ผู้สนับสนุนบล็อกราชบุรีศึกษา ห้องสมุดไฟล์-ราชบุรีศึกษา GPS to Ratchaburi สารคดีที่นี่..ราชบุรี หากบล็อกนี้มีประโยชน์ โปรดคลิกถูกใจ เติมกำลังใจให้คณะจัดทำ คำถามที่รอคำตอบ ▼ 2011 (1) ▼ เมษายน (1) โปรดแบ่งปันภาพถ่ายศูนย์นักศึกษาพม่าบ้านมณีลอย ► 2010 (11) ► ตุลาคม (1) ► กันยายน (2) ► สิงหาคม (8) พิมพ์คำสำคัญเพื่อค้นหา